ชื่อเรื่อง : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ.ศ. 2553) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เอทานอล และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เอทานอลใช้เป็นเชื้อเพลิง

หน่วยงาน : กระทรวงอุตสาหกรรม

ขอบข่าย

1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมเฉพาะ เอทานอลใช้ทางอุตสาหกรรมที่ทำจากพืชในกลุ่มที่ให้แป้งและน้ำตาล เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันสำปะหลัง อ้อย กากน้ำตาล ซึ่งต่อไปในมาตรฐานนี้จะเรียกว่า "เอทานอล"

2. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ไม่ครอบคลุมเอทานอลใช้ทางเภสัชกรรมและเอทานอลใช้เป็นเชื้อเพลิง

รู้ไหมว่าสารกันบูดอันตรายอย่างไร และอยู่ในอาหารอะไรบ้าง  วันนี้เราได้รับสารกันบูดในอาหารมากขนาดไหน 

มาหาคำตอบได้เลยที่

http://www.arda.or.th/ebook/file/16food.pdf

กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอต เป็นวัตถุกันเสียที่มีประวัติการใช้มานานในปี พ.ศ.2487
(ค.ศ.1875) ได้ใช้กรดเบนโซอิกเพื่อทดแทนการใช้กรดซาลิซิลิก กรดเบนโซอิกนี้สามารถพบได้
ตามธรรมชาติ เช่น ลูกพรุน แครนเบอรี่ อบเชยและกานพลู

อ่านเพิ่มเติมได้ที่

http://www.thaitox.org/media/upload/file/Benzoic-Acid.pdf

 

 

     สารกันบูด คือสารเคมีหรือของผสมของสารเคมีที่ใช้ในการถนอมอาหาร โดยอาจจะใส่ลงในอาหาร พ่น ฉาบรอบๆ ผิวของอาหารหรือภาชนะบรรจุ สารดังกล่าวจะทำหน้าที่ยับยั้งหรือทำลายจุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสียโดยอาจจะไปออกฤทธิ์ต่อผนังเซลล์รบกวนการทำงานของเอนไซม์หรือกลไกทางพันธุกรรม (genetic mechanism)ในเซลล์ ยังผลให้จุลินทรีย์ไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้หรือตายในที่สุดแต่ถ้าหากในแต่ละวันเราได้รับสารกันบูดในปริมาณน้อย

http://www.nsm.or.th/other-service/1757-online-science/knowless-inventory/sci-article/science-article-nsm/2663-disaster.html

 สารกันบูดตามประกาศกองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา อนุญาตให้ใช้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ.2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม อ่านเพิ่มเติมได้ที่

http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=subdetail&id_L1=27&id_L2=15799&id_L3=3076

Search