0 2201 7250-6

ฮิต: 35

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการ ดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ

 

 

 

กองหอสมุดฯ มีการสำรวจความต้องการสารสนเทศของผู้ขอรับบริการภายในกรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นประจำทุกปี และผู้ขอรับบริการทั้งภายในและภายนอก สามารถเขียนเสนอเอกสารที่ต้องการได้ในแบบเสนอแนะทรัพยากรสารสนเทศ (F-CD1-020)

           

(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด

 

 

 

(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย

 

 

 

(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม

 

 

 

3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ

 

 

 

ในปีงบประมาณ 2566 มีทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้องสำหรับให้บริการ  จำนวน ...... รายชื่อ

3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา

 

 

กองหอสมุดฯ มีการลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูลลงในระบบ Matrix (https://staff01.dss.go.th/) เพื่อสะดวกในการค้นหา และมีการจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสารใหม่ประจำเดือน แสดงที่หน้าเว็บไซต์ห้องสมุด New List : บัญชีรายชื่อหนังสือใหม่

(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ

 

 

เมื่อมีการจัดการรายการทรัพยากรสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว จะมีการจัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อขึ้นชั้นสำหรับให้บริการต่อไป

(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย

 

 

ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ทางเว็บไซต์ https://siweb.dss.go.th

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศ โดยจัดทำในรูปแบบสิ่งพิมพ์ (บัญชีรายชื่อเอกสารใหม่ประจำเดือน) โดยให้บริการ ณ ชั้นบริการ และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ อีเมล เฟซบุ๊ก ไลน์ เว็บไซต์ห้องสมุด ( New List : บัญชีรายชื่อหนังสือใหม่

(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการตรวจสอบสภาพเอกสาร ให้พร้อมให้บริการอยู่เสมอ หากเอกสารฉบับใดชำรุดจะมีการดำเนินการซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานต่อไป

(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดทำสถิติการยืม หรือการนำสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในภาพรวมเป็นประจำทุกเดือน

(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

กองหอสมุดฯ เป็นต้นแบบการนำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษในกรมวิทยาศาสตร์บริการ

- ส่งเอกสารแจ้งเวียนทางไลน์/ e-mail/e sarabun  โดยสามารถเข้าดูหนังสือได้ที่ http://bsti-saraban.dss.local/ (ชื่อผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน ใช้อันเดียวกันกับที่ Login เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์) เลือกเมนู หนังสือเวียน

3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดพื้นที่บริการให้มีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ (แนบรูปภาพ)

(2) ปลอดภัย

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดพื้นที่บริการให้มีความปลอดภัย มีการติดตั้งถังดับเพลิงไว้ทุกชั้นบริการ (แนบรูปภาพ)

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร

 

 

กองหอสมุดฯ มีการประหยัดพลังงานและทรัพยากร โดยปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประกาศ ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 ลงนามโดยนางสาวปัทมา นพรัตน์ ผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (แนบไฟล์มาตรการฯ)

(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม