0 2201 7250-6

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

- ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว

- การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

- การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

- การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

 

 

 

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น

ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ

ปฏิบัติงาน เป็นต้น

 

 

 

(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร

 

 

 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

 

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการ

เปลี่ยนแปลง

2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการ

เปลี่ยนแปลง

3.ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4 . กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

 

 

 

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร

 

 

 

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร

 

 

 

 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

3.ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4 . กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)

 

 

 

 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทาง ดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม

 

 

 

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

 

 

 

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร

 

 

 

หมวดที่ 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการให้บริการห้องสมุดสีเขียว

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการ ดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ

 

 

 

 

(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด

 

 

 

(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย

 

 

 

(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม

 

 

 

3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ

 

 

 

 

3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

 

 

 

(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้

สะดวกต่อการค้นหา

 

 

 

(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ

 

 

 

(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย

 

 

 

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ

 

 

 

(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ

 

 

 

(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

 

(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ

 

 

 

(2) ปลอดภัย

 

 

 

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร

 

 

 

(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการ ดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ

 

 

 

กองหอสมุดฯ มีการสำรวจความต้องการสารสนเทศของผู้ขอรับบริการภายในกรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นประจำทุกปี และผู้ขอรับบริการทั้งภายในและภายนอก สามารถเขียนเสนอเอกสารที่ต้องการได้ในแบบเสนอแนะทรัพยากรสารสนเทศ (F-CD1-020)

           

(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด

 

 

 

(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย

 

 

 

(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม

 

 

 

3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ

 

 

 

ในปีงบประมาณ 2566 มีทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้องสำหรับให้บริการ  จำนวน ...... รายชื่อ

3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา

 

 

กองหอสมุดฯ มีการลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูลลงในระบบ Matrix (https://staff01.dss.go.th/) เพื่อสะดวกในการค้นหา และมีการจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสารใหม่ประจำเดือน แสดงที่หน้าเว็บไซต์ห้องสมุด New List : บัญชีรายชื่อหนังสือใหม่

(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ

 

 

เมื่อมีการจัดการรายการทรัพยากรสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว จะมีการจัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อขึ้นชั้นสำหรับให้บริการต่อไป

(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย

 

 

ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ทางเว็บไซต์ https://siweb.dss.go.th

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศ โดยจัดทำในรูปแบบสิ่งพิมพ์ (บัญชีรายชื่อเอกสารใหม่ประจำเดือน) โดยให้บริการ ณ ชั้นบริการ และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ อีเมล เฟซบุ๊ก ไลน์ เว็บไซต์ห้องสมุด ( New List : บัญชีรายชื่อหนังสือใหม่

(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการตรวจสอบสภาพเอกสาร ให้พร้อมให้บริการอยู่เสมอ หากเอกสารฉบับใดชำรุดจะมีการดำเนินการซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานต่อไป

(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดทำสถิติการยืม หรือการนำสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในภาพรวมเป็นประจำทุกเดือน

(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

กองหอสมุดฯ เป็นต้นแบบการนำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษในกรมวิทยาศาสตร์บริการ

- ส่งเอกสารแจ้งเวียนทางไลน์/ e-mail/e sarabun  โดยสามารถเข้าดูหนังสือได้ที่ http://bsti-saraban.dss.local/ (ชื่อผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน ใช้อันเดียวกันกับที่ Login เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์) เลือกเมนู หนังสือเวียน

3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดพื้นที่บริการให้มีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ (แนบรูปภาพ)

(2) ปลอดภัย

 

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดพื้นที่บริการให้มีความปลอดภัย มีการติดตั้งถังดับเพลิงไว้ทุกชั้นบริการ (แนบรูปภาพ)

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร

 

 

กองหอสมุดฯ มีการประหยัดพลังงานและทรัพยากร โดยปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประกาศ ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 ลงนามโดยนางสาวปัทมา นพรัตน์ ผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (แนบไฟล์มาตรการฯ)

(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

5.1.1 มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) เครือข่ายห้องสมุดสีเขียว

     √

 

 

(2) ชมรมห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(3) หน่วยงานภายในองค์กร

      

 

 

  

(4) หน่วยงานภายนอกองค์กร

      

 

 

5.1.2 มีความร่วมมือในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านวิจัย และด้านการศึกษา ดังนี้

(1) หน่วยงานด้านนโยบาย/บริหารหรือ หน่วยบริหารงานกลาง เพื่อประสานความร่วมมือด้านนโยบายแผนงาน งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดการขยะ เป็นต้น

 

    

 

(2) หน่วยงานด้าน กายภาพ เพื่อประสานความร่วมมือด้านอาคารสถานที่ ระบบงานไฟฟ้า ระบบงานอาคาร ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น

 

    

 

(3) หน่วยงานวิจัย เพื่อประสานความร่วมมือในการนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 

    

 

(4) หน่วยงานด้านการศึกษา หรือหน่วยการเรียนการสอน เพื่อประสานความร่วมมือในการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

     

 

 

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

5.2.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้

(1) เข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานความร่วมมือจัด

     

 

 

(2) จัดกิจกรรมและเชิญหน่วยงานความร่วมมือเข้าร่วม

 

 

 

(3) เป็นวิทยากรหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับหน่วยงานอื่น

     

 

 

(4) เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

5.2.2 จำนวนหน่วยงานต่อปี ที่ได้รับการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียว เช่น โรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานต่างๆ

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

4.1.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้

(1) การประหยัดพลังงานไฟฟ้า และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า

      √

 

ในปีงบประมาณ 2567 กองหอสมุดฯ ได้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

- วันที่ 15 มกราคม 2567 การเยี่ยมชมและศึกษาดูงานของโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี มีนักเรียนจำนวน 105 คน และครู จำนวน 6 คน

     

(2) การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

       

 

(3) การคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้ การจัดการของเสียและมลพิษ

         

(4) ก๊าซเรือนกระจก

      

 

4.1.2 การมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

(1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด

     

 

 

(2) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม

 

    

 

(3) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสรุปผลกิจกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์

 

    

 

(4) มีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด

 

    

 

4.1.3 ความถี่และความสม่ำเสมอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียว

 

      

 

 

4.1.4 จัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียวโดยแสดงข้อมูลต่อไปนี้และมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียว และสำนักงานสีเขียว (ปรับปรุงข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง)

       √

 

กองหอสมุดฯ มีการปรับปรุงข้อมูลนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ในหน้าเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง โดยในปีงบประมาณ 2567 มีการกำหนดนโยบายต่าง ๆ ดังนี้ "

นโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

ประกาศเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 ลงนามโดยนางสาวปัทมา นพรัตน์ ผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี               

 

    

(2) ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด

      √

 

กองหอสมุดฯ มีการเผยแพร่ข่าวสาร กิจกรรม มาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของห้องสมุด ดังนี้

- ข่าวสาร รายละเอียด

- กิจกรรม รายละเอียด

- มาตรการ รายละเอียด

(3) ผลการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวและแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำการประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

      √

 

กองหอสมุดฯ ได้ดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวละมีการแสดงข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ผลการประหยัดน้ำ การประหยัดทรัพยากร และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

- การใช้พลังงานไฟฟ้า รายละเอียด

- การประหยัดน้ำ รายละเอียด

- การประหยัดทรัพยากร (กระดาษ) รายละเอียด (ข้อมูลในเว็บไซต์ยังไม่ครบถ้วน)

(4) สื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

       √

 

กองหอสมุดฯ ได้จัดทำสื่อความรู้ และเอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

- สื่อประชาสัมพันธ์มาตรการต่าง ๆ รายละเอียด

- สิ่งพิมพ์เผยแพร่ รายละเอียด

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

4.2.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมที่มีการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้

 

 

    

 

4.2.2 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม (เกณฑ์การวัดความรู้พิจารณาจากคะแนนผ่านที่ร้อยละ 60)

 

 

    

 

4.2.3 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากร และกลุ่มผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

     

    

 

4.2.4 การปรับปรุงกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

(1) สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งหมดในรอบปี

     

 

 

(2) มีการวิเคราะห์ปัญหา และผลประเมินการเรียนรู้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรม

 

 

 

(3) จัดทำแผนปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม

 

 

 

(4) จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง

     √

 

กองหอสมุดฯ มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวเสนอผู้บริหารโดยจัดทำหนังสือเสนอ และผู้เกี่ยวข้องโดยแจ้งเวียนในไลน์กลุ่ม (แนบไฟล์บันทึก)

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของห้องสมุดทั้งหมด ทั้งส่วนของสำนักงาน และพื้นที่บริการ

 

 

        สท. มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ ที่ดำเนินการตามมาตรฐานห้องสมุดสีเขียว ประกอบด้วย อาคารหอสมุดวิทยาศาสตร์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม (ฝั่งห้องสมุด) สูง 6 ชั้น พื้นที่รวมประมาณ 3,504.12 ตารางเมตร และพื้นที่สีเขียวด้านหน้าอาคาร 33.74 ตารางเมตร โดยบริบทองค์กรและขอบเขตการจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน ดังนี้
          1) กิจกรรมและพื้นที่ภายในอาคาร มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อาคารหอสมุดฯ มีจำนวน 6 ชั้น แต่ละชั้นมีขนาดพื้นที่ 584.02 ตารางเมตร ประกอบด้วยพื้นที่ให้บริการส่วนรวม จำนวน 2,454.35 ตารางเมตร และส่วนการปฏิบัติงาน จำนวน 1,049.77 ตารางเมตร

        2) กิจกรรมและพื้นที่ภายนอกอาคาร ได้แก่ พื้นที่สีเขียวบริเวณหน้าอาคาร ขนาด 33.74 ตร.ม. พื้นที่จอดรถสำหรับผู้รับบริการ 

GL-1-1.1.1

(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของห้องสมุด

 

 

 

1.1.2 มีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

ด้านห้องสมุด

(1) มีนโยบายการบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

(2) มีนโยบายการจัดการและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ และพร้อมใช้

 

 

 

(3) มีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

(4) มีนโยบายการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

 

 

 

ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (รายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)

(5) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

(6) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

 

 

 

(7) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

 

 

 

1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(1) นโยบายห้องสมุดสีเขียวจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

 

 

 

(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายห้องสมุดสีเขียวอย่างชัดเจน

 

 

 

(3) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(4) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด

 

 

 

(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด

 

 

 

(3) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร

 

 

 

1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และมีหลักฐาน

การลงนามอนุมัติและวันที่ประกาศใช้อย่างชัดเจนและเป็นปัจจุบัน ดังนี้

(1) การจัดการและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(2) การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก

 

 

 

(3) การจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ

 

 

 

(4) ความพึงพอใจของผู้รับบริการห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

1.1.6 มีการกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว ทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นงาน

ประจำของหน่วยงาน ดังนี้

(1) มีการกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแผนงานประจำของห้องสมุด โดยดำเนินการต่อเนื่องทุกปี

 

 

 

(2) มีการสรุปปัญหาและแนวทางการปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อกำหนดแผนงานห้องสมุดสีเขียวในปีต่อไป

   

 

(3) มีการบูรณาการงานด้านห้องสมุดและงานด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

   

 

(4) กำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว เป็นภาระงานของบุคลากรที่ต้องได้รับการประเมิน

   

 

1.1.7 มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือนโยบายของประเทศ หรือนโยบายตามบริบทสากล ดังนี้

(1) มีการกำหนดนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) หรือ นโยบายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ของห้องสมุด

 

 

 

(2) มีการกำหนดเป้าหมายและแผนงานการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระยะสั้นและระยะยาวของห้องสมุดที่สอดคล้องกับนโยบายตามข้อ (1)

   

 

(3) มีการลด และ/หรือ ชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

   

 

(4) ผลการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในข้อ (2)

   

 

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุด และคณะกรรมการด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียวประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวดและประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน

   

 

(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการหรือทีมงานอย่างชัดเจน

   

 

1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการหรือทีมงานห้องสมุดสีเขียว ด้านห้องสมุดที่ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้

(1) ประธาน/หัวหน้า

   

 

(2) คณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด

   

 

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

1.3.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม

 

 

 

(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุด ในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม

 

 

 

(3) จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม

 

 

 

(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ

 

 

 

1.3.2 มีการกำหนดวาระการประชุมและทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้

(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

(2) วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุมทบทวนฝ่ายบริหารที่ผ่านมาทั้งด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(3) วาระที่ 2 ทบทวนนโยบายห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(4) วาระที่ 3 ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการหรือทีมงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)

 

 

 

(5) วาระที่ 4 การติดตามผลการ

ดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(6) วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(7) วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมและแนวคิดของผู้บริหารต่อการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวอย่างต่อเนื่องทั้งด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร รายชื่อผู้เข้าประชุมและภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง

 

 

 

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)

1.4.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด (ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นไปตาม

เกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว)

(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ที่มีความรู้และประสบการณ์เรื่องห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

(3) มีการจัดทำข้อกำหนดการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุดครอบคลุมทุกหมวด

 

 

 

(4) กำหนดให้ ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินอย่างชัดเจน

 

 

 

(5) ดำเนินการตรวจประเมินภายใน ด้านห้องสมุด ครบถ้วนทุกหมวด