0 2201 7250-6

ฮิต: 70

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(3) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของ

สำนักงาน

 

มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน

      กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สท.)  มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ ประกอบด้วยอาคารหอสมุดฯ (ฝั่งหอสมุดฯ) ครอบคลุมพื้นที่ 6 ชั้น ดังนี้

- ชั้น 1 เป็นพื้นที่เคาน์เตอร์ให้บริการ พื้นที่รับรอง พื้นที่จัดกิจกรรม ชั้นวางวารสาร และห้องอนุสรณ์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม

    

          

          

          

 

- ชั้น 2 เป็นพื้นที่ชั้นวางหนังสือภาษาต่างประเทศ

     

      

- ชั้น 3 เป็นพื้นที่สำนักงาน ห้องประชุมฯ และพื้นที่รับประทานอาหาร

 

- ชั้น 4 เป็นพื้นที่สำนักงาน ห้องประชุมฯ และพื้นที่เก็บของที่ระลึก

 

- ชั้น 5 เป็นพื้นที่ชั้นวางหนังสือ วารสาร เอกสารต่างๆ ภาษาไทย

 

- ชั้น 6 เป็นพื้นที่ชั้นวางเอกสารมาตรฐาน สิทธิบัตร เอกสารการค้าต่างประเทศ และสำนักงาน

โดยพื้นที่หน้าอาคารหอสมุดฯ มีลานจอดรถ มีพื้นที่สีเขียว ภายในอาคารทุกชั้นมีบันได ห้องน้ำสำหรับเจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ และหน้าห้องน้ำทุกชั้นมีพื้นที่รองรับของเสีย โดยจัดตั้งถังขยะแยกตามประเภทของขยะ ส่วนบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร มีการติดตั้งเครื่องถังดักไขมัน

     พื้นที่จอดรถหน้าอาคารหอสมุดฯ

 

 ถังขยะหน้าห้องน้ำ

 

ถังดักไขมันบริเวณห้องจัดเลี้ยงชั้น 3

(4) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน

 

 

มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน

   กองหอสมุดฯ มีกิจกรรมการบริการสารสนเทศ ณ พื้นที่ชั้น 1, 2, 5 และ 6  สำหรับพื้นที่ชั้น 1 มีพื้นที่รองรับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น งานเปิดบ้าน (Open House)  กิจกรรมการจัดการความรู้  และห้องอนุสรณ์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม ซึ่งจัดแสดงเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ของกรมวิทยาศาสตร์บริการที่มีความสำคัญในอดีต  นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ชั้น 3 และชั้น 4 ที่ให้บริการห้องประชุม รวมจำนวน 4 ห้อง

 

1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ด้านห้องสมุด

(5) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

 

มีการปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

(6) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

 

มีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 6 เรื่อง ควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(7) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 

มีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 7 เรื่อง ปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office) ของกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(8) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

 

มีการสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง และมีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 7 เรื่อง สร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(5) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

 

มีการจัดทำนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว และอนุมัติโดยผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(6) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

 

ในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว มีการการระบุวันที่การประกาศใช้อย่างชัดเจน

นโยบายห้องสมุดสีเขียว

  • ปี 2561         อนุมัติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561
  • ปี 2562-2563 อนุมัติเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2562
  • ปี 2564-2565 อนุมัติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564
  • ปี 2566         อนุมัติเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

  • ปี 2567 อนุมัติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2567 หัวข้อ นโยบาย มาตรการ ประกาศ สท.

(7) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว กำหนดโดยผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจ ดังนั้น ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียวได้

(8) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นประธานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว และคณะดังกล่าว มีการจัดประชุมเพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียวประจำปี และมีการจัดทำรายงานการประชุมฯ แจ้งเวียนคณะทำงานฯ รับทราบด้วยแล้ว

รายงานการประชุม

1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(4) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

 

ฝ่ายเลขานุการฯ จัดทำแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว โดยระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ประจำปีงบประมาณ 2564

 - ประจำปีงบประมาณ 2565 

 - ประจำปีงบประมาณ 2566

 - ประจำปีงบประมาณ 2567

(5) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

 

ฝ่ายเลขานุการฯ จัดทำแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว โดยมีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด 

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ประจำปีงบประมาณ 2564

 - ประจำปีงบประมาณ 2565 

 - ประจำปีงบประมาณ 2566

 - ประจำปีงบประมาณ 2567

(6) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร

 

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร คือ ผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ผสท.) ดังนี้

  • ปี 2564 อนุมัติวันที่ 14 มิถุนายน 2564 คลิก      
  • ปี 2565 อนุมัติวันที่ 29 กันยายน 2564 คลิก
  • ปี 2566  อนุมัติเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 คลิก
  • ปี 2567  อนุมัติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2567 คลิก

1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากรพลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

(5) การใช้ไฟฟ้า

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 1)

(6) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 2)

(7) การใช้น้ำ

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้น้ำลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 3)

(8) การใช้กระดาษ

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้กระดาษลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 4)

(9) ปริมาณของเสีย

 

เป้าหมาย คือ ปริมาณของเสียลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 5)

(10) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก

 

เป้าหมาย คือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 6)

1.2  คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(3) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวดและบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน

 

มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีบันทึกข้อความเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติโดยผู้บริหารแล้ว เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 โดยคณะทำงานฯ ดังกล่าว ประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในกองหอสมุดฯ และภายในคำสั่ง มีการระบุหมวดด้านสิ่งแวดล้อมกำกับไว้อย่างชัดเจน

คำสั่ง สท. ที่ 5/2565 

(4) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน

 

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมคำสั่ง สท. ที่ 1/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการกำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมของคณะกรรมการแต่ละคนไว้อย่างชัดเจน

คำสั่ง สท. ที่ 1/2567

1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม ดังนี้

(3) ประธาน/หัวหน้า

 

ประธาน ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวฯ ซึ่งมีการระบุหมวดด้านสิ่งแวดล้อมกำกับไว้อย่างชัดเจน ทำให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เช่น ประธานฯ ได้เข้าร่วมการประชุมทุกครั้งที่จัดขึ้น มีการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อยู่สม่ำเสมอ

(4) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)

 

คณะทำงานฯ ทุกคน (ร้อยละ 100) ได้ร่วมกันดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวฯ ทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยรวมรวมข้อมูลไว้ในรายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

รายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ปีงบประมาณ 2564

 - ปีงบประมาณ 2565

 - ปีงบประมาณ 2566

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วนตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบทของสำนักงาน

 

มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วนตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบทของสำนักงาน ในรายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2566

รายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ปีงบประมาณ 2566

(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ความเข้าใจ

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ความเข้าใจ

(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากรวัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน

 

 

 

(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน

 

 

 

(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน

 

 

 

(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง

 

 

 

(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวนการระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็นต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าวด้วย (ถ้ามี)

 

 

 

1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

 

 

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

มีการกำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน

 

มีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน

(4) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน

 

 

 

(5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการป้องกันครบถ้วน

 

 

 

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน

 

 

 

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

 

 

 

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

 

 

 

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

 

 

 

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง