0 2201 7250-6

ฮิต: 186

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หมายเหตุ

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(3) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของ

สำนักงาน

 

 

      สท. มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ ที่ดำเนินการตามมาตรฐานห้องสมุดสีเขียว ประกอบด้วย อาคารหอสมุดวิทยาศาสตร์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม (ฝั่งห้องสมุด) สูง 6 ชั้น พื้นที่รวมประมาณ 3,504.12 ตารางเมตร และพื้นที่สีเขียวด้านหน้าอาคาร 33.74 ตารางเมตร โดยบริบทองค์กรและขอบเขตการจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน ดังนี้
          1) กิจกรรมและพื้นที่ภายในอาคาร มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่อาคารหอสมุดฯ มีจำนวน 6 ชั้น แต่ละชั้นมีขนาดพื้นที่ 584.02 ตารางเมตร ประกอบด้วยพื้นที่ให้บริการส่วนรวม จำนวน 2,454.35 ตารางเมตร และส่วนการปฏิบัติงาน จำนวน 1,049.77 ตารางเมตร

        2) กิจกรรมและพื้นที่ภายนอกอาคาร ได้แก่ พื้นที่สีเขียวบริเวณหน้าอาคาร ขนาด 33.74 ตร.ม. พื้นที่จอดรถสำหรับผู้รับบริการ 

หลักฐาน

(4) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน

 

 

 

1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ด้านห้องสมุด

(5) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

(6) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

 

 

 

(7) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

 

 

 

1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(5) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

 

 

 

(6) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

 

 

 

(7) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

 

 

(8) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

 

 

1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(4) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

 

 

 

(5) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

 

 

 

(6) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร

 

 

 

1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากรพลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

(5) การใช้ไฟฟ้า

 

 

 

(6) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

 

 

 

(7) การใช้น้ำ

 

 

 

(8) การใช้กระดาษ

 

 

 

(9) ปริมาณของเสีย

 

 

 

(10) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก

 

 

 

1.2  คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(3) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวดและบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน

 

 

 

(4) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน

 

 

 

1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม ดังนี้

(3) ประธาน/หัวหน้า

 

 

 

(4) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)

 

 

 

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วนตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบทของสำนักงาน

 

 

 

(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ความเข้าใจ

 

 

 

(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากรวัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน

 

 

 

(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน

 

 

 

(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน

 

 

 

(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง

 

 

 

(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวนการระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็น

ต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าว

ด้วย (ถ้ามี)

 

 

 

1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

 

 

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

 

 

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน

 

 

 

(4) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน

 

 

 

(5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการป้องกันครบถ้วน

 

 

 

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน

 

 

 

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

 

 

 

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

 

 

 

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

 

 

 

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง