0 2201 7250-6

ฮิต: 190

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

4.1 การจัดการของเสีย

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

 

มีมาตรการในการบริหารจัดการขยะภายในอาคาร สท. โดยกำหนดในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สท. เช่น มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้น

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 

(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

 

ติดป้ายบ่งชี้ขยะแต่ละประเภทอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภททุกเดือน

ข้อมูลสถิติบันทึกปริมาณขยะ      

     

(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับเพียงพอ

 

มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับเพียงพอ

(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

 

มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

 

มีการนำขยะไปรวมกับกรมโรงงาน เพื่อจัดส่งขยะ

(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

 

 

 

(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

 

ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน

4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

 

มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษที่ใช้แล้ว 1 หน้า

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

 

มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน เผยแพร่บนเว็บไซต์ ข้อมูลสถิติบันทึกปริมาณขยะ 

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

 

มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

 

จากการบันทึกปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.2 การจัดการน้ำเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เช่น มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร โดยกำหนดผู้รับผิดชอบคือ แม่บ้านเป็นผู้ดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน และมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลถังดักไขมัน

    

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

 

มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

 

มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

 

 

 

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

 

มีแม่บ้านเป็นผู้ดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน จำนวน 1 ครั้งต่อสัปดาห์ และตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้งานของถังดักไขมัน

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย หรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

 

มีการทำความสะอาดถังดักไขมันอย่างถูกต้องตามวิธีที่กำหนด

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

 

มีการตรวจสอบถังดักไขมันให้มีสภาพพร้อมใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

 

มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ