0 2201 7250-6

ฮิต: 38

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

- ความสำคัญของห้องสมุดสีเขียว

- การบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียวและการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

- การให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

- การจัดหาและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

 

 

 

(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น

ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ

ปฏิบัติงาน เป็นต้น

 

 

 

(4) จัดทำประวัติการอบรมของบุคลากร

 

 

 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

 

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการ

เปลี่ยนแปลง

2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการ

เปลี่ยนแปลง

3.ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4 . กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

 

 

 

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร

 

 

 

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร

 

 

 

 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

3.ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4 . กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)

 

 

 

 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทาง ดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม

 

 

 

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

 

 

 

(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว

 

 

 

(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร

 

 

 

หมวดที่ 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการให้บริการห้องสมุดสีเขียว

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการ ดังนี้

(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ

 

 

 

 

(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด

 

 

 

(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย

 

 

 

(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม

 

 

 

3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ

 

 

 

 

3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้

(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น

 

 

 

(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้

สะดวกต่อการค้นหา

 

 

 

(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ

 

 

 

(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย

 

 

 

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่างๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ

 

 

 

(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ

 

 

 

(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ

 

 

 

(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ

 

 

 

(2) ปลอดภัย

 

 

 

(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร

 

 

 

(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม